วันอาทิตย์ที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2557

50 รูปแบบและเทคนิคการออกแบบตราสัญลักษณ์ : 50 Logo Design Styles And Techniques

50 Logo Design Styles And Techniques  : 50 รูปแบบและเทคนิคการออกแบบตราสัญลักษณ์

There is no one true approach to logo design. A wide variety of design styles and techniques can be employed by designers in their efforts to create a memorable logo. In this article, we try to make an inventory of every different category a logo can fall into. You will notice that style, layout, form, technique and subject elements are all included. Logos typically fall into a combination of these categories - it is virtually impossible to see a logo fall into only one of them. For example, a logo can be a unique font with multicolored letters, a 3D graphic with gradients to spice it up, or an animal drawn in a childlike manner.
Some say that creativity consists in the ability to take several oft-used elements and to arrange them in a whole new way. This is certainly the case in logo design. Even though none of these categories individually is very original on its own, great logo designers will take a few of them and creatively combine them into something unique and outstanding.

วันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ลิขสิทธิ์ คืออะไร

ผู้ที่มีอาชีพหรือผู้ที่ศึกษาเล่าเรียนมาทางวิชาชีพศิลปกรรม ควรต้องศึกษา ให้ความสำคัญและทราบข้อมูลเกี่ยวกับลิขสิทธิ์เอาไว้ให้ดี เพราะเราท่านนั้น ต้องเกี่ยวข้องนับแต่เริ่มต้องลงทุน ลงแรง คิด สร้างสรรค์จนกระทั่งได้ผลงานสำเร็จออกมาในทุกระดับความสำเร็จมาอย่างไร ผลงานนั้นๆมีคุณค่าและมูลค่าแห่งการที่ได้คิด ได้สร้างสรรค์ผลงานขึ้นมาเองนั้น ท่านต้องเคารพและรักษาสิทธิ์ทั้งของตนเองและผู้อื่นอย่างไรบ้าง  
ก่อนอื่นต้องศึกษาความหมายกันก่อนนะครับ ผมนำมาอ้างอิงให้อ่านแล้วนะครับ
Copyright is a legal right created by the law of a country, that grants the creator of an original work exclusive rights to its use and distribution, usually for a limited time, with the intention of enabling the creator (e.g. the photographer of a photograph or the author of a book) to receive compensation for their intellectual effort.
http://en.wikipedia.org/wiki/Copyright
ลิขสิทธิ์("Copyrighting ,Copyrights) หมายถึง สิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะกระทำการใดๆ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ริเริ่มโดยการใช้สติปัญญาความรู้ ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะของตนเองในการสร้างสรรค์ โดยไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น โดยงานที่สร้างสรรค์ต้องเป็นงานตามประเภทที่กฎหมายลิขสิทธิ์ให้คุ้มครอง โดยผู้สร้างสรรค์จะได้รับความคุ้มครองทันทีที่สร้างสรรค์โดยไม่ต้องจดทะเบียน
    กฎหมายลิขสิทธิ์ให้ความคุ้มครองแก่งานสร้างสรรค์ 9 ประเภทตามที่กฎหมายกำหนด ได้แก่
    1. งานวรรณกรรม  ( หนังสือ  จุลสาร  สิ่งพิมพ์  คำปราศรัย  โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ฯลฯ )
    2. งานนาฎกรรม  ( ท่ารำ  ท่าเต้น ฯลฯ ) 
    3. งานศิลปกรรม  ( จิตรกรรม  ประติมากรรม  ภาพพิมพ์  ภาพถ่าย  ศิลปประยุกต์ ฯลฯ )
    4. งานดนตรีกรรม ( ทำนอง  ทำนองและเนื้อร้อง ฯลฯ )
    5. งานสิ่งบันทึกเสียง ( เทป  ซีดี ) 
    6. งานโสตทัศนวัสดุ  ( วีซีดี  ดีวีดี  ที่มีภาพหรือมีทั้งภาพและเสียง )
    7. งานภาพยนตร์ 
    8. งานแพร่เสียงแพร่ภาพ 
    9. งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร์ หรือศิลปะ
http://www.ipthailand.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=28&Itemid=308

วันศุกร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2557

Brand Definition

A brand is a mixture of attributes, tangible and intangible, symbolized in a trademark, which, if managed properly, creates value and influence.“Value” has different interpretations: from a marketing or consumer perspective it is the promise and delivery of an experience; from a business perspective it is the security of future earnings; from a legal perspective it is a separ-able piece of intellectual property. A brand is intended to ensure relationships that create and secure future earnings by growing customer preference and loyalty. Brands simplify decision-making, represent an assurance of quality, and offer a relevant, different, and credible choice among competing offerings.

วันพฤหัสบดีที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2557

สื่อการสอนและตัวอย่างกรณีศึกษาการนำเสนอผลงานในรายวิชาออกแบบอัตลักษณ์ : คู่มือการใช้กราฟิกเอกลักษณ์มาตรฐาน มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

คู่มือการใช้กราฟิกเอกลักษณ์มาตรฐาน มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม สื่อการสอนออนไลน์และตัวอย่างกรณีศึกษาในรายวิชาการออกแบบอัตลักษณ์และการนำเสนอผลงานในขั้นตอน สรุปผล ( ส.3) เป็นผลงานวิจัย-ออกแบบสร้างสรรค์ของอาจารย์ผู้สอน ผศ.ประชิด ทิณบุตร โดยสรุปเป็นคู่มือการใช้กราฟิกเอกลักษณ์มาตรฐาน ของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม จำนวน 36 หน้า สื่อแสดงให้เห็นข้อกำหนดมาตรฐานและตัวอย่างแนวทางการนำไปใช้งานอย่างถูกต้องเหมาะสม